ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บบล็อก นางสาวศศิธร จูลจันโท สาขาการพํฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บล็อกนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาอินเตอร์เน็ตและการสื่อสารในชีวิตประจำวัน ขอขอบคุณที่เข้ามาร่วมชมค่ะ

วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555

สารเคมีในบุหรี่


ไส้บุหรี่นั้น ทำจากใบยาสูบตากแห้ง นำไปผ่านกระบวนการทางเคมี และมีการเพิ่มสารอื่น ๆ ควันบุหรี่ประกอบด้วยสารเคมีมากกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งในจำนวนนั้นมีสารเคมีจำนวนมากที่เป็นสารพิษ สารที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (en:mutagenic) และสารก่อมะเร็ง (en:carcinogen) สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบได้แก่
อะซีโตน (Acetone)
อะลูมิเนียม (Aluminiam)
แอมโมเนีย (Ammonia)
สารหนู (Arsenic)
เบนซีน (Benzene)
บิวเทน (Butane)
แคดเมียม (Cadmium)
คาเฟอีน (Caffeine)
คาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon monoxide)
คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide)
คลอโรฟอร์ม (Chloroform)
ทองแดง (Copper)
ไซยาไนด์/ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Cyanide/Hydrogen cyanide)
ดีดีที/ดีลดริน (DDT/Dieldrin)
เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethenol)
ฟอร์มัลดีไฮด์ (Formaldehyde)
ตะกั่ว (Lead)
แมกนีเซียม (Magnesium)
มีเทน (Methane)
เมทิลแอลกอฮอล์ (Methanol)
ปรอท (Mercury)
นิโคตีน (Nicotine)
พอโลเนียม (Polonium)
ทาร์ (Tar)
ไวนิลคลอไรด์ (Vinyl Chloride)
โพแทสเซียมไนเตรต (Potassium nitrate)

ที่มาhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็นกันเยอะๆนะคะ